ถ่านไฟเก่า

คุณคนสำคัญ

Happy Valentine's Day

My music

วันพฤหัสบดีที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2554

นวัตกรรมโครงการชั่งหัวมัน

โครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชดาริ
โครงการนี้ตั้งอยู่ที่ ตาบลเขากระปุก อาเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งที่มาของโครงการนี้มีว่า ข้าราชบริพารในพระองค์ได้มาซื้อที่ดินบริเวณนี้สาหรับอยู่อาศัย ปลูกพืชผล
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการ นายศรราม ต๋องาม สมาชิก อบต.กลัดหลวง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี และผู้เชี่ยวชาญการปลูกหน่อไม้ฝรั่ง
ต่อมาความทราบถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระทัย จึงได้เสด็จพระราชดาเนินมาทอดพระเนตรที่ดินและได้ทรงซื้อที่ดินบริเวณดังกล่าวจานวน ๒๕๐ ไร่ สาหรับเพาะปลูกพืชทาเป็นโครงการตามพระราชดาริ ซึ่งมีชาวบ้านได้นามันเทศที่ปลูกมาทูลเกล้าฯ ถวาย พระองค์แต่เมื่อเสด็จกลับมิได้ทรงนามันหัวนั้นไปด้วย แต่เมื่อเสด็จกลับมาอีกครั้งทรงพบว่ามันหัวนั้นงอกเป็นต้น จึงมีพระราชดารัสว่ามันอยู่ที่ไหนก็งอกได้ จึงมีพระราชดาริให้จัดเป็นพื้นที่เพาะปลูกพืชต่างๆ โดยเน้นที่พืชท้องถิ่นของเพชรบุรี เช่น มะพร้าว ชมพู่เพชร มะนาว กะเพรา สัปปะรด ข้าวไร่พันธุ์ต่างๆ และไม้ใหญ่ๆ จาพวกมะพร้าว ชมพู่เพชร สาหรับพืชผลที่เก็บไปแล้ว เช่น มะนาว กะเพรา โหระพา นั้นส่งไปจาหน่ายที่ร้านโกลเด้นเพลสเพียงร้านเดียวเท่านั้น อีกส่วนหนึ่งส่งเข้าไปในวังสาหรับเป็นเครื่องปรุงพระกระยาหาร เจ้าหน้าที่เล่าว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่เสด็จมาประทับสาราญพระราชอิริยาบถที่นี่หลายครั้ง โดยจะทรงขับรถพระที่นั่งทอดพระเนตรรอบๆ ด้วยพระองค์เอง
ทางเข้าโครงการนั้นอยู่ห่างไกลความเจริญ จากตัวอาเภอท่ายาง ขับเลี้ยวเข้าไปทางตาบลเขากระปุก ถนนเริ่มเล็กลงเรื่อยๆ สองข้างทางเต็มไปด้วยไร่นา ถนนราดยาง แต่พระองค์ท่านทรง ปลูกบ้านอยู่ที่นั่นโดยมีบ้านมีสองหลัง หลังแรกของในหลวง หลังที่สองของพระเทพฯ ราชการทูลเกล้าถวายเลขที่ บ้านเลขที่ ๑ และ เลขที่ ๒ ให้ฟังทีแรกก็ไม่เข้าใจว่าพระองค์ท่านจะไปซื้อที่ดินในที่ธุรกันดาร แถมยังปลูกบ้านไว้ที่นั่นทาไม ในเมื่อปัจจุบันพระองค์ท่านก็อาศัยอยู่ที่หัวหินเป็นกิจจะลักษณะแล้ว
เมื่อเข้าไปถึงโครงการจะพบทหารที่คอยดูแลและให้แลกบัตรผ่านเข้า มองไปแล้วจะเห็นกังหันผลิตไฟฟ้าประมาณสิบกว่าต้น สูงเด่น มีรถทะเบียนกรุงเทพฯ วิ่งสวนมาเป็นระยะ ฝุ่นฟุ้งกระจายเต็มถนนแคบ รั้วลวดหนามยาวไกล ต้นไม้หลากหลายชนิดเรียงตัวเป็นระเบียบอยู่ในนั้น เขื่อนดินขนาดใหญ่ พร้อมศาลาเก้าเหลี่ยมสูงเด่น เราเดินทางมาถึงไร่ของในหลวงกันแล้ว
เมื่อแลกบัตรที่ป้อมทหาร และเลี้ยวรถเข้าไป ก็เพิ่งถึงบางอ้อที่ดินจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ที่ว่า ไม่ใช่ไร่ที่ซื้อเอาไว้หลบหนีความวุ่นวายในเมืองหลวง หรือใช้ตากอากาศ แต่มันคือที่ดินเพื่อใช้เป็น โครงการในพระราชดาริ ที่มีชื่อมันๆ ว่า
ทางเข้าโครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชดาริ
ความเป็นมาของโครงการ
โครงการชั่งหัวมัน” ๒ จากป่ายูคาลิปตัส รกร้าง มะนาวแป้นยืนต้นแห้งเหี่ยว ไร้คนดูแลเพราะอ่างเก็บน้าหนองเสือแห้งขอดมาแรมปี ทาให้ชาวบ้านในพื้นที่บ้านหนองคอกไก่ ต.เขากระปุก อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี ดินแห้งแล้ง

กังหันผลิตไฟฟ้า โครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชดาริ โครงการชั่งหัวมัน ตาม พระราชดาริ เป้าหมายต้องการให้เป็นศูนย์รวมพืชเศรษฐกิจของ อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี โดยเลือกพันธุ์พืชท้องถิ่นที่ดีที่สุดเข้ามาปลูกโดยให้ภาครัฐกับชาวบ้านร่วมดูแลด้วยกัน เพื่อแลกเปลี่ยนแนวคิด เช่น กรมที่ดินได้ให้หมอดินที่มีความชานาญมาสารวจพื้นที่เพื่อปรับปรุงดิน ขณะที่ชาวบ้านซึ่งมีความรู้ในการปลูกหน่อไม้ฝรั่งก็เข้ามาร่วมคิดกับทางเกษตรจังหวัด
ขณะเดียวกันยังพลิกวิกฤติเป็นโอกาสด้วยการติดตั้งกังหันลม ๑๐ ตัว เพื่อขายให้กับการไฟฟ้าฯ เพราะพื้นที่บริเวณนี้เป็นช่องเขามีลมพัดผ่าน แม้จะมีความแห้งแล้ง โดยปลายปีนี้จะติดตั้งกังหันลมเพิ่มอีกเป็น 20 ตัว โดยจะให้ผลตอบแทนจากการลงทุน ๒๐% ต่อปี ตลอดจนทาให้ที่แห่งนี้มีกังหันลมมากที่สุดในประเทศ ขณะเดียวกันสิ่งที่ชาวบ้านในละแวกใกล้เคียงได้คือ ไฟฟ้าจะไม่ตกเพราะพลังงานสะอาดที่ได้จากกังหันลมส่วนใหญ่มักตั้งอยู่ใกล้กับทะเลที่เป็นต้นทางทาให้เวลาจ่ายกระแสไฟฟ้าไปยังชาวบ้านที่ห่างไกลกาลังไฟจะต่าลง แต่หากมีการตั้งกังหันลมการผลิตไฟฟ้าบริเวณปลายทางจะทาให้กระแสไฟฟ้ามีกาลังสูงกว่า
โครงการชั่งหัวมันเป็นการบริหารทรัพยากรแบบบูรณาการ โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้คุ้มค่ามากที่สุด ขณะเดียวกันก็พยายามเปลี่ยนวิกฤติให้เป็นโอกาส โดยคาดว่าอนาคตจะเป็นอีกแหล่งเรียนรู้ให้กับประชาชนโดยทั่วไปได้เข้าชมดูจากวันที่ตั้งโครงการ คาดว่าน่าจะเป็นโครงการล่าสุดเลยทีเดียว ได้เดินเข้าไปในโครงการก็เกิดอาการซาบซึ้ง เพราะไม่นึกว่าในหลวงที่เราเห็นในทีวีที่แทบไม่มีแรงยกมือ กลับยังมีใจ + มีไฟ ริเริ่มโครงการใหม่ๆ ในถิ่นที่อยู่ห่างไกลความเจริญอยู่ตลอดเวลา ไม่มีหยุดดูจากบอร์ดภายในโครงการ อธิบายว่า โครงการนี้เป็นเสมือนแปลงทดลองปลูกพืชเศรษฐกิจในท้องถิ่น อันได้แก่ มะนาว มะพร้าว ชมพู่เพชร และพืชไร่ พืชสวน มีการขุดบ่อ (หรือในโครงการคือเขื่อน) เพื่อเก็บกักน้า มีกังหันและโซล่าเซลเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า เหมือนจะเป็นแบบทดลองตัวอย่างแก่เกษตรกรโดยรอบ เพื่อเพิ่มคุณภาพให้ผลผลิต แบบพึ่งพาตัวเองและเหนือสิ่งอื่นใด พอมีข่าวใน หลวงเสด็จมาตั้งโครงการปั๊บ ชาวบ้านแถวนั้นก็ดีใจกันยกใหญ่ หลายคนถวายแรงกายแรงใจ เข้ามาช่วยงานในโครงการฟรี ๔
บอร์ดบอกเล่ารายละเอียดเกี่ยวกับโครงการชั่งหัวมัน
แปลงสาธิตทางการเกษตร
ยุวเกษตรซึ่งเป็นเด็กนักเรียนในชุมชนดูแลแปลงผักสวนครัว เพื่อให้เด็ก ๆ ได้เกิดการเรียนรู้และนาไปปรับใช้ได้กับการทาการเกษตรที่บ้าน โดยทุกขั้นตอนในการทางานพระองค์ทรงเน้นย้าในการทาเกษตรอินทรีย์ ๕



เดิมชาวบ้านหลายครอบครัวใช้สารเคมี แต่พอเข้ามาดูในไร่พระเจ้าอยู่หัวแล้วจึงเห็นการทาเกษตรอินทรีย์และการให้ น้าหยด ทาให้เริ่มปรับเปลี่ยน พฤติกรรม โดยอนาคตเมื่อการทดลองต่าง ๆ ที่ได้จากนักวิชาการและชาวบ้านประสบความสาเร็จในไร่พระเจ้าอยู่หัว ชาวบ้านในละแวกนี้ก็จะได้รับประโยชน์ไปด้วย



สถานที่ประทับเวลาเสด็จเยี่ยม และบ้านเลขที่ ๑ ในส่วนพระองค์

โครงการนี้ก็เป็นโครงการที่เกิดจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ มีประโยชน์เพื่อการพัฒนารากเหง้าของชาวบ้านที่แท้จริง ไม่ต้องเอาตัวเองไปเปรียบเทียบกับมาตรฐานฝรั่ง แต่เอารากที่เมืองไทยมี คือการเกษตร มาพัฒนา ไม่ต้องพึ่งพาพลังงานน้ามัน ไม่ต้องตามตลาดโลก ไม่ต้องป่าวประกาศ ไม่ต้องออกข่าวหน้าหนังสือพิมพ์ แต่ทาอย่างเงียบๆ ทาดีอย่างที่ในหลวงบอกคนไทยเสมอว่าเป็นการ "ปิดทองหลังพระ" อย่างแท้จริง เรื่องเล่าเกี่ยวกับชื่อที่มาของโครงการว่า ตอนที่ในหลวงเสด็จมาที่ที่ดินนี้ครั้งแรกๆ มีชาวบ้านเอาหัวมันมาถวาย แต่ยังไงไม่รู้ ในหลวงทรงลืมเอาหัวมันกลับไปด้วย พอกลับมาที่ที่ดินนี้อีกที หัวมันนั้นก็เริ่มงอกขึ้นมาเป็นต้น เมื่อถึงเวลา ก็พระราชทานชื่อโครงการนี้ว่า "
สิ่งที่ได้รับจากการเข้าชมโครงการ

เริ่มต้นด้วยไม่มีอะไรเลย แต่ว่าต่อมาภายในวันเดียว ทุกคนที่อยู่ในท้องที่นั้นก็เข้าใจว่าต้องช่วยกัน และยิ่งในสมัยนี้ ในระยะนี้ เราต้องร่วมมือกันทา เพราะถ้าไม่มีการร่วมมือกันก็ไม่ก้าวหน้า ไม่มีความก้าวหน้า ฉะนั้นการที่ท่านได้ทาแล้วมีความก้าวหน้านี้เป็นสิ่งที่ดีมาก หลักการก็อยู่ที่ทุกคนต้องช่วยกันเสียสละ เพื่อให้กิจการในท้องที่ก้าวหน้าไปด้วยดี ก้าวหน้าได้อย่างไรก็ด้วยการช่วยเหลือกัน แต่ก่อนนั้นเคยเห็นว่ากิจการที่ทามีกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งทาแล้วก็ทาให้ก้าวหน้าแต่อันนี้มันไม่ใช่ กลุ่มหนึ่ง มันทั้งหมดรวมกันทา และมีความก้าวหน้าแน่นอน อันนี้ก็เป็นสิ่งที่มหัศจรรย์และเป็นสิ่งที่ทาให้มีความหวัง มีความหวังว่าประเทศชาติจะก้าวหน้า ประเทศไทยจะมีความสาเร็จ

ประโยชน์ที่ได้จากการเข้าเยี่ยมชมโครงการในครั้งนี้ คือ การอยู่อย่างพอเพียง ไม่ฟุ้งเฟ้อ พอใจในสิ่งตนเองมี มีความมุมานะอดทน และมีความคิดสร้างสรรค์ที่จะพัฒนาและสร้างสิ่งใหม่ๆ ให้เกิดประโยชน์ตลอดเวลา
โครงการชั่งหัวมัน" เมื่อชมโครงการเรียบร้อยจึงเดินทางกลับ ๖
**********************************
กลุ่มงานสารสนเทศการวางแผนและประเมินผล
สานักงานเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น